ขัอเปรียบเทียบหลักการบริโภคตามหลักเศรษฐศาสตร์ฤนนิยมกระแสหลักและเศรษฐศาสตร์เชิงพก,รไทยนำหลักการเศรษฐศาสตร์ทุนนิยมกระแสหลัก เข้ามาเป็นจุดยืนในการพ์ฒนาเศรษฐกิจและสังคมระดับชาติ ผ่านมาแล้วประมาณห้าสิบปี สิ่งที่คนไทยเก่าคุ้นเคย คือ แบ่งกันกิน กลัวเรื่องกามและลันโดษเรื่องเกียรติ๙ เนื่องจากจิตใจยังฝังลึกอยู่กับความเชื่อเรื่องทานและศีลหนักแน่นมาก การศึกษาทั้งในและนอกระบบ ได้มีอิทธิพลทำให้เกิดคนไทยใหม่ สังคมใหม่มีการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคม กำจัดหนูในบ้าน ทั้งส่วนกายภาพ เช่น ลักษณะบ้านเรือนที่อยู่อาศัย ฯลฯทั้งส่วนคุณธรรมจริยธรรม เช่น เคยร่วมมือกันลงแขก ก็กลายเป็นต้องจ้างวาน แช่งข้นกัน ชิงดีชิงเด่นกัน และปัญญานั้นเคยเคารพนับถือพุทธปัญญา ก็กลับกลายมาให้ความเชื่อถืออย่างหมดหัวใจ กับกระบวนสร้างปัญญาจากตะวันตกตารางเปรียบเทียบ เศรษฐศาสตร์ทุนนิยมกระแสหลักและเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ คัดลอกมาจาก “อนัตตา กับชีวิตทันสมัย”,สิริวรุณ, สำนักพิมพ์สุขภาพใจ, หน้า ๒๑๙ ดังต่อไปนี้คิดให้10น... เดี่ยวเห็นเองสรวรุณตารางแสดจการเปรียบเทียบการบร!กคไนหลักการของเกรษจคาสตรี กระแสหลักและเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์กระแลหลักเๅนนิยม เศรษฐศาสตร์เชิงพุกธ๑. ให้คำนิยามว่า การทำงาน คือ ความทุกข์ จึงต้องมีการจำกัดเวลาทำงานและการส่งเสริมการท่องเที่ยว ถือว่านั่นคือความสุข ให้นิยามว่า การทำงานคือ การปฎิบ้ติธรรมไม่จำกัดเวลาทำงาน และไม่ส่งเสริมการท่องเที่ยว แต่ถือว่า ถ้าทำงานสัมมาอาชีวะนั่นแหละคือความสุข๒. การบริโภคเพื่อให้เกิดสุขภาพของางกายอยู่ในสภาวะที่น่าพึงพอใจ ความพอใจเป็นเรื่องของสิทธิของบุคคล การบริโภคเพื่อให้เกิดกำลังเพื่อทำงานมนุษย์ที่ทำงานมีสิทธิโดยชอบธรรมที่จะบริโภคตามความจำเป็น๓. กระบวนการบริโภคมีความมุ่งหมายเพื่อกลบทุกข์ กระบวนการบริโภคเป็นเครื่องหมายสำหรับพิจารณาว่าชีวิตนี้คือความทุกข์๔. พัฒนากลไกของการบริโภค เช่นเดียวกับพัฒนาเครื่องอัดโนม้ติ พัฒนากลไกของการบริโภคเพื่อให้เข้าถึงความพอดีของชีวิต คลื่นไล่หนู ๕. ขณะบริโภค จะใช้เวลาสองรูปแบบเพื่อฆ่าเวลาพร่าเวลา หรือเพื่อต้องการชนะเวลา ชนะการแข่งขันจนเป็นทาสของเวลาทั้งคู่ ขณะบริโภคต้องรู้ทันด้วยว่าเป็นเวลาของสมมดี อย่าตกเป็นทาสของเวลาจนเวลากัดกินใจตนเอง๖. ตราบใดที่พอใจ ถือว่าการบริโภคนั่นยุติธรรม แม้จะทำให้ผู้อื่น และสังคมเดือดร้อนก็อดทนกันไต้ ตราบใดที่บริโภคด้วยสดีสัมปชัญญะไม่ควรทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน๗. บริโภคแบบสะสมและกักตุนอย่าทั้งที่เป็นกัตถุ และนามธรรม บริโภคเพื่อลดปริมาณลงคงเหลือเท่าไม่ส่งเสริมการกักตุนทั้งทางรูปธรรมและนามธรรมคิดอย่าจเครษจคาสตร์ฤนนิยบเทรษฐคาสตร์เชิง,พุทธการปรับตัวเอนทาสสากลกายไตัระบบเศรษฐกิจฤนนิยม ไล่หนูและแมลงสาบ ในสมัยที่ข้าพเจ้ายังเป็นเด็ก การศึกษาภาคบังคับคือนยาฆ่าแมลงชนิ ชั้นประถมปีที่สี่ แต่ประชาซนส่วนมากก็ยังไม่ผ่านการศึกษาภาคบังคับข้าพเจ้าเปีนเด็กกรุงเทพฯ มีโอกาสในการได้รับการศึกษาสูงกว่าเด็กต่างจังหวัดเด็กที,ไหนๆ ก็เหมือนกันทั้งโลก ความเชื่อที,ฝังอยู่ในจิตเด็กล้วนได้รับอิทธิพลมาจากสิ่งต่างๆ ที่ผูใหญ่ท0าไว่ให้ ในสมัยนั้น การมีชีวิตในเมืองหลวงก็ยังไม,แตกต่างจากชนบทมากนัก ทุกบ้านต้องเตรียมนํ้ากินนํ้าใช้รวมทั้งเตรียมถ่านหรือพลังงานสำหรับหุงต้ม เด็กเล็กๆ ก่อนวัยเรียน (อายุตากว่า ๗ ขวบ) ติดไฟ หุงข้าว ตักนั้า ช่วยแม่ทำงานได้แล้ว
เครื่องไล่หนู
เครื่องไล่หนู